เรื่องในวันหยุดสงกรานต์ ก็ได้มีโอกาสไปร้านหนังสือมาครับ และได้ไปเจอหนังสือเล่มหนึ่งของ
" ผศ. นเรศ สุรสิทธิ์ " อาจารย์แกจะแต่งหนังสือเกี่ยวกับ TOEIC เป็นซีรีย์เลยครับ ผมก็คิดว่า "โอ้ว อาจารย์แกคงเมพ TOEIC มาก " ก็เลยถอยหนังสือของอาจารย์แกมา 3 เล่ม คือ ERROR, INCOMPLETE และ VOCABULARY หมดไปเกือบ 400
พอกลับมาถึงบ้านครับ ก็เปิดทั้งสามเล่มอ่านผ่านๆครับ พบว่า แม่ง!!! มันเหมือนกันทั้งสามเล่มเลยนิหว่า ? !@#$@#$!%!@# ก็ขอบอกเพื่อนๆไว้เลยนะครับว่า ถ้าเจอหนังสือของอาจารย์แก ก็อุดหนุนอาจารย์ เล่มหนึ่งก็พอครับ หรือไม่ก็รออ่านสรุปจาก blog ของผมเอาก็ได้ครับ
ประโยคภาษาอังกฤษ หรือ sentence นั่น จะประกอบไปด้วย noun, pronoun, verb, บลา บลา ที่เราเรื่องกันตั้งแต่ประถม จนโตหมาเลียตูดไม่ถึงแล้ว ก็ยังทำข้อสอบภาษาอังกฤษไม่ได้อยู่ดีนั้นล่ะ รวมๆเค้าเรียกว่า "parts of speech" โดยในหนังสือ ของ อาจารย์ นเรศ (ทั้งสามเล่ม) จะเน้นเพียง 6 ตัวเท่านั้น คือ
- Noun
- Pronoun
- Adjective
- Verb
- Adverb
- Preposition
NOUN
นาว ครับ ฟังแล้วหนาว แม่ง!!!รู้จักมันตั้งแต่ประถม ใช้แทนพ่อง!!! แทน แม่ง!!! (ใช้แทน คน สัตว์ สิ่งของนั่นล่ะ ) NOUN ถูกแบ่งย่อยเป็น- รูปธรรม ( Concrete Noun ) คือ นม เอ้ย!! นาว ที่จับต้องได้ ก็พ่อง!!! ก็แม่ง!!! ไงล่ะครับ (คือNoun ที่มีรูปร่างสัมผัสได้) เช่น นม
- นามธรรม ( Abstract Noun ) คือ ใครซักคนที่คุณได้เจอเขาแค่ในความฝัน 555 (คือ Noun ที่ไม่มีรูปร่าง สัมผัสไม่ได้ ) เช่น นมในฝัน
รูปร่างน่าตาของ NOUN
ถ้าคำศัพท์ไหนที่ลงท้ายด้วย suffix ต่อไปนี้ คำศัพท์นั้นก็คือคำนามนั่นเอง
- -tion เช่น relation
- -ence เช่น difference
- -ance เช่น importance
- -ity เช่น necessity
- -ness เช่น happiness, sadness
- -ship เช่น relationship
- -ism เช่น industrialism
- -dom เช่น kingdom
- -hood เช่น brotherhood
- -ery เช่น recovery
- -tude เช่น solitude
- -eracy เช่น democracy
- -logy เช่น psychology
ต่อไป ถ้าคำศํพท์คำใดที่ลงท้ายด้วย suffix ต่อไปนี้ คำศัพท์นั่นจะเป็นนามที่เป็นคน
- -er เช่น writer
- -ist เช่น scientist
- -or เช่น governor
- -ee เช่น employee
- -ic เช่น comic
- -ian เช่น musician
เหตุที่เราต้องรู้ว่า คำนามไหนเป็นคน เพราะ กริยาที่เป็น acitve voice จะใช้กับประธานที่เป็นคำนามที่เป็นคนครับ ซึ่งสามารถช่วยเรารอดชีวิตจากการทำข้อสอบได้มากที่เดียว ส่วนเรื่อง voice จะขออธิบายในคราวหน้านะครับ
ต่อไปจะนำเสนอคำนามนอกคอกครับ คือมันไม่มีกฏเกณฑ์อะไรในการสร้างมันขึ้นมาเลย ดังนั้นต้องศรัทธา และจำมันไปครับ
คำนามต่อไปนี้มีรูปลงท้ายด้วย s มักใช้เป็นคำนามพหูพจน์ ได้แก่
คำนามต่อไปนี้มีรูปเป็นพหูพจน์แต่เวลาใช้จะเป็นเอกพจน์เเทน ( คือ กริยาที่ใช้กับคำนามพวกนี้จะต้องเป็นรปเอกพจน์เสมอ ) ได้แก่
ต่อไปจะนำเสนอคำนามนอกคอกครับ คือมันไม่มีกฏเกณฑ์อะไรในการสร้างมันขึ้นมาเลย ดังนั้นต้องศรัทธา และจำมันไปครับ
คำนามต่อไปนี้มีรูปลงท้ายด้วย s มักใช้เป็นคำนามพหูพจน์ ได้แก่
riches tidings fetters breeches
billiards trousers valuables goods
movables eatables pantaloons spectacles
thanks surroundings stocks premises
alms measles scissors wages
proceeds annals mumps shorts
bowels tongs stockings
คำนามต่อไปนี้มีรูปเป็นพหูพจน์แต่เวลาใช้จะเป็นเอกพจน์เเทน ( คือ กริยาที่ใช้กับคำนามพวกนี้จะต้องเป็นรปเอกพจน์เสมอ ) ได้แก่
economics classics statistics
athletics ethics gallows
mechanics mathematics news
politics summons innings
คำนามต่อไปนี้ จะเรียกว่า collective nouns หรือ คำนามที่เป็นหมู่คณะ คุณสมบัติคือ เป็นคำนามที่ไม่ได้ลงท้ายด้วย s เเต่ใช้เป็นพหูพจน์เสมอ ได้แก่
gentry vermin people mankind
public poultry nation police
clergy folk cattle peasantry
audience
คำนามต่อไปนี้มีรูปเอกพจน์เสมอ คือถ้าเห็นมันเติม s ที่ไหนแปลว่าที่นั่นผิดนะครับ คำนามประเภทนี้ได้แก่
poetry cavalry issue mischief
advice infantry luggage baggage
physics offspring fuel information
abuse furniture bedding machinery
คำนามต่อไปนี้เป็นได้ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์ อันนี้ต้องดูรูปประโยคแล้วล่ะ ตัวใครตัใมันล่ัคราวนี้
sheep fish apparatus corps
วันนี้คงต้องจบลงที่ Noun กันก่อน หวังว่าคงได้รับความรู้กันไม่มากก็น้อยนะครับ อย่าลืมท่องจำศัพท์ที่กล่าวไปข้างต้นด้วยล่ะ
advice infantry luggage baggage
physics offspring fuel information
abuse furniture bedding machinery
คำนามต่อไปนี้เป็นได้ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์ อันนี้ต้องดูรูปประโยคแล้วล่ะ ตัวใครตัใมันล่ัคราวนี้
sheep fish apparatus corps
วันนี้คงต้องจบลงที่ Noun กันก่อน หวังว่าคงได้รับความรู้กันไม่มากก็น้อยนะครับ อย่าลืมท่องจำศัพท์ที่กล่าวไปข้างต้นด้วยล่ะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น